วันพฤหัสบดีที่ 30 กันยายน พ.ศ. 2553

หลักการใช้สีสำหรับการออกแบบเว็บไซต์

3. หลักการใช้สีสำหรับการออกแบบเว็บไซต์
3.1 จำนวนของสีหลัก = เลือกตาม Concept+Tone
3.2 การใช้สีพื้นหลัง = ภาพ,ลวดลาย,สี ต้องเชื่อมโยงกับตัวอักษร ถ้าตัวอักษรเข้มพื้นหลังจะอ่อน
3.3 โทนสีโดยรวม = จะมีโทนร้อน และ โทนเย็น
3.4 สีกับหมวดหมู่


การใช้ตัวอักษรและภาพกราฟฟิก

4.1 สีของตัวอักษร =อักษร พื้นเข้ม อ่อน/กลาง กลาง เข้ม/อ่อน อ่อน เข้ม/กลาง
4.2 ลักษณะของตัวอักษร=Ms san serif, Arial, Geneva, Helvetica, Verdana / ขนาด 14-20 หนา เอียง กระพริบ
4.3 จำนวนของกราฟริก=1 ภาพ 1 เสียง
4.4 ตำแหน่งในการวางภาพ=ซ้าย กลาง ขวา
4.5 ขนาดภาพ=Jpeg/bitmap, Gif/vector

การใช้สื่อประสม สำหรับออกแบบเว็บไซต์

5.1 การใช้ภาพเคลื่อนไหว = Logo animated,interactive,web (Flash)

5.2 การใช้วิดีโอคลิป = Flash,window Media,plug-in

5.3 การใช้เสียง= on-off

วันพฤหัสบดีที่ 23 กันยายน พ.ศ. 2553

รูปแบบและการนำเสนอ (หน้าเว็บไซต์)


รูปแบบการนำเสนอและการนำเสนอ
1.ลักษณะโครงสร้างของหน้าเว็บไซต์
1.1 แนวตั้ง


1.2 แนวนอน
1.3 พอดีหน้าจอ
2.การจัดวางตำแหน่ง(แนวตั้ง)

2.1 ส่วนหัว = เว็บไซต์ช่อง 3 มีโล้โก้ประจำตัวที่เด่นชัดที่มุมซ้าย มีชื่อเว็บไซต์ด้านล่างโลโก้ , มีระบบนำทางแบบ drop-down , มี Banner โฆษณาอยู่ด้านบนสุด

2.2 ส่วนเนื้อหา = เว็บไซต์ช่อง 3 มีเนื้อหาอยู่ช่วงกลางเว็บไซต์มีการจัดวางตัวหนังมีตัวอักษร hypertext , มีภาพประกอบเช่นภาพละครอัพเดทล่าสุดต่าง ๆ , มีเนื้อหาอัพเดทเกี่ย่วกับดารา ,ละครทีวี . รายการทีวีต่าง ๆ

2.3 ส่วนท้าย = มีข้อมูลเพิ่มเติมอยู่ด้านท้ายเป็นตัวอักษร hypertext , มีข้อมูลลิขสิทธิ์, มีการติดต่อผู้ดูแลเว็บไซต์ที่ด้านล่างสุด

3. การใช้ตัวอักษร ภาพ ออกแบบเว็บไซต์
3. 1.สีตัวอักษรเนื้อหา= เป็น สีดำ
3.2.ลักษณะตัวอักษร(Font) =อักษรบางตัวขึ้นอยู่กับ การเขียนโค้ดภาษา HTML ขนาดอยู่ที่ประมาณ 14 – 20
3.3.ภาพ =เป็นภาพต่าง ๆ ที่เหมาะกับเนื้อหาของข้อมูล
3.4.ตำแหน่งของภาพ =อยู่ตำแหน่งของข้อความต่าง ๆ
3.5.ขนาดของภาพ= ปานกลาง

4. ตำแหน่งของเมนู = อยู๋ในช่วงด้านบน

5. ลักษณะของเมนู = เป้นเมนูแบบ Drop-Down

6.การแบ่งหมวดหมูของเมนู = หมวดข่าว,หมวดละคร, บันเทิง , ข้อมูลติดต่อ

วันพฤหัสบดีที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2553


วันพฤหัสบดีที่ 9 กันยายน พ.ศ. 2553


องค์ประกอบการออกแบบ(Element of design)

วงจรสี

สีขึ้นที่1Primary -ประกอบด้วย สี แดง สีเหลือง และสีน้ำเงิน ซึ่งเมื่อนำแม่สีทั้งสามมาผสมกันในอัตราส่วนต่างๆก็จะเกิดสีขึ้นมามากมาย ซึ่งประโยชน์ จากการที่เรานำสีมาผสมกันทำให้เรา สามารถเลือกสีต่างๆมาใช้ได้ตามความพอใจ สร้างสรรค์ผลงานศิลปะที่งดงามตามความพอใจขอผู้สร้าง สีที่เกิดจากการนำเอาแม่สีมา ผสมกัน เกิดสีใหม่เมื่อนำมาจัดเรียงอย่างเป็นระบบ รวมเรียกว่าวงจรสี
สีขั้นที่ 2 (Binary Color)- เกิดจากการนำเอาสีขั้นที่ 1 (แม่สี ) มาผสมในอัตราส่วนเท่าๆกันประกอบด้วยสี เขียว สีส้ม และสีม่วง
สีขั้นที่ 3 (Intermediate Color)-เกิดจากการนำเอาสีขั้นที่ 2 ผสมกับสีขั้นต้นที่อยู่ใกล้เคียงกันได้สีแตกต่างออกไป ได้แก่ สีเหลืองแกมเขียว สีน้ำเงินแกมม่วง สีแดงแกมม่วง สีแดงแกมส้ม สีเหลืองแกมส้ม และสีน้ำเงินแกมเขียว

ศัพท์ที่เกี่ยวกับสี
1.Hue=ตัวสี,เนื้อสี
2.Saturation=ความเข้มข้นของสีสีเช่น ขาวจั้ว แดงแป๊ด ดำปี๋
3.Value=ค่านํ้าหนักของสี

ระบบสี
ระบบสีแบบ CMYK = (CYAN,MAGENTA,YELLOW,KEY)ระบบสีแบบ CMYK เป็นระบบที่นิยมใช้กันในเรื่องของการพิมพ์ การนำหมึกสีทั้งสี่ในระบบ CMYK มาผสมกัน จะทำให้เกิดสีได้หลากหลายสีเพื่อนำมาใช้ในการพิมพ์ภาพต่างๆ ถ้าคุณลองสังเกตุดีดีหรือลองใช้แว่นขยายส่องไปที่ภาพที่พิมพ์ด้วยระบบ CMYK คุณจะเห็นมีเม็ดสีเม็ดเล็กทั้งสี่สีอยู่เต็มไปหมด ในส่วนของการใช้งานนั้น ตามที่กล่าวไว้ข้างต้นว่าระบบ CMYK จะใช้สำหรับงานที่ออกแบบมาเพื่อ Print out เช่น งานโปสเตอร์ นามบัตร แผ่นพับ งานสิ่งพิมพ์ต่างๆ
ระบบสีแบบ RGB = (RED,GREEN,BLUE)สีที่แสดงในระบบสีแบบ RGB นั้นอธิบายสั้นๆให้เข้าใจง่ายคือ สีที่ใช้บนจอMonitor ของคอมพิวเตอร์นั้นเอง โดยหลักการของระบบสี RGB คือ แสงสีแดงแสงสีเขียว และแสงสีฟ้า ทำการผสมกันในอัตราส่วนที่แตกต่างจนเกิดเป็นสีต่างๆให้เรามองเห็น ส่วนในด้านของการใช้งานนั้น ระบบสีแบบ RGB เราจะใช้สำหรับภาพกราฟฟิกที่แสดงบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ หรืออุปกรณ์แสดงผลในรูปแบบจอมอนิเตอร์ เช่น ภาพตามwebsiteต่างๆ ฯลฯ

การแต่งตัว(หลักการเลือกสี)
Color Combination
1.monochromatic คื่อการใช้สีเดียว เพื่อสร้างความแตกต่าง ด้วยระดับความมือสว่างของสี (โมโนโทน)
2.triads คือการใช้สีตามสีที่อยู่ตัดกันใกล้เคียงกัน เพื่อให้เกิดความแตกต่างของสี อย่างชัดเจน ลดระดับของความเข้มก็ได้
3.analogous คือการใช้สีที่อยู๋ติดกันใกล้เคียงกัน โดยเืลือกจากสีที่อยู๋ถัดไป 2-3 สีสามารถสร้างความกลมกลืนได้ดี
4.complementary คือการใช้สีตรงข้ามกัน สามารถช่วยเน้นความโดดเด่นได้ดี การใช้สีดำหรือเทา เพื่อลดความรุนแรงของสี นอกจากนั้นการใช้สี 2 สีที่แตกต่างกันมาก จะทำให้มีความสำคัญเท่ากันดังนั้นจึงควรลดความเข้มของสีหนึ่งลง
5.split-complements คือการใช้สีผสม เป็นการผสมผสานระหว่างสีโทนร้อนและเย็น โดยเริ่มจากการเลือกสีใดสีหนึงและจับคู่กับอีก 2 สี ในโทนสีตรงข้ามกัน

------------------------------------www.Colorblender.com----------------------------------


วันพฤหัสบดีที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2553

การใช้ตัวอักษร


การใช้ตัวอักษร
TYPO + ความหมาย
"TYPOGRAPHY"
การใช้ตัวอักษรหรือการจัดวางตัวอักษร
"FONT(TYPEFACES)"
ชุดรูปทรางของตัวอักษร
"FONT FAMILIRS"
ตระกูลของชุดแบบตัวอักษร
ส่วนประกอบ
มีเชิง (serif)
ไม่มีเชิง (Sans serif)
ขนาด
หน่วย = points (72 point = 1 นิ้ว)
ตัวอักษรที่แตกต่างกัน มีขนาด point เท่ากันไม่จำเป็นต้องมีความสูงเท่ากัน
ประเภท
Sans Serif
Script Hand-lettered ลายมือเขียน
Monospace บล๊อกเท่าๆกัน(ดิจิตอล)
Novelty ประดับตกแต่ง
Dingbat ตัวประกอบของโลโก้
การผสมตัวอักษร
1. ตัวอักษรตัวหลัก - ตัวอักษรที่ไม่มีขาตัวหนาผสมกับตัวอักษรที่มีขาตัวบางตัวอักษรทั้ง 2 แบบมีความแตกต่าง
2. ตัวอักษรมีขาตัวหนาผสมกับตัวอักษรไม่มีขาตัวหนา
3.ตัวอักษรไม่มีขาผสมกับตัวอักษรมีขาการผสมอักษรแบบนี้ไม่มีจุดเด่น
4.ความแตกต่างอย่างชัดเจนของตัวอักษรแบบนี้เหมาะสำหรับคนที่มีการพัฒนาแนวความคิด
5.เช่นเดียวกันบการผสม่างอักษรสามารถสร้างความแตกต่างได้อย่างมากมาย
-ตัวอักษรแบบเป็นหลัก
-เลือกแบบฟ้อนต์รอง